Autodesk INVENTOR

หลักสูตรการอบรมโปรแกรม INVENTOR
 
          โปรแกรม Inventor เป็นโปรแกรมที่มีความยืดหยุ่นในการทำงานสูงมาก คือ สามารถที่จะทำงานมากมายหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นชิ้นงานที่ต้องขึ้นเป็น solid หรือsurface ก็มีเครื่องที่รองรับเป็นอย่างดี เมื่อสร้างชิ้นงานเสร็จเรียบร้อยสามารถที่จะประกอบชิ้นงานได้ใน Mode ของชุดคำสั่ง Assembly รวมทั้งผู้ที่ต้องการ Drawing ของชิ้นงาน ก็เพียงลากชิ้นงานมาวางในใบงาน แล้วใส่ขนาด ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้งานสามารถ ที่จะประหยัดเวลาในการทำงานและสนุกกับการทำงานอีกด้วย
 
เนื้อหาหลักสูตร
อธิบายและทำความเข้าใจพื้นฐานทางวิศวกรรม
อธิบายภาพรวมของโปรแกรม และการใช้งานเบื้องต้น
  • เข้าสู่การใช้เครื่องมือการวาดเส้นร่าง (Sketch Toolbar)
  • การเลือกระนาบที่เหมาะสมในการทำงาน
  • การเปิดโปรแกรม Start Program
  • การสร้างชิ้นงาน (Part) ใหม่
  • การเลือกและสร้างระนาบที่เหมาะสมกับการสร้างงาน มิติ
  • อธิบาย คำสั่งที่ใช้กับงานสร้างงาน มิติ
  • อธิบายคำสั่งย่อยที่มีอยู่ภายใต้คำสั่งการสร้างงาน มิติ
  • การแสดงภาพตัด Section
  • การซูม การหมุน การย้าย และการแสดงภาพชิ้นงานลักษณะต่างๆ
  • การแสดงผลที่หน้าต่างแบบต่างๆ
  • การย้าย (Move), การหมุน (Rotate) ชิ้นงาน
  • กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างชิ้นงาน ชิ้น
  • การลบและเพิ่มความสัมพันธ์
  • การสร้างระนาบเอง Plane
  • การสร้างแกน(axis) ไว้เพื่อเป็นจุดหมุน
กลุ่มคำสั่งในการ Sketch
  • ริ่มต้นด้วยสเก็ต (Sketch)
  • อธิบายคำสั่งที่ใช้กับงาน มิติ
  • การวัดค่าต่างๆรวมถึงการให้ขนาด และการปรับค่าต่างๆจากการให้ขนาด
  • เรียนรู้และเข้าใจการใช้ตัวตัวช่วยกำหนดความสัมพันธ์ (Relations)
กลุ่มคำสั่งในการขึ้นรูปชิ้นงาน
  • การกำหนดขนาดและการเปลี่ยนขนาด Extrude
  • การเจาะรูให้ทะลุโดยคำสั่ง Extrude Cut
  • การเพิ่มความหนาโดยหมุนรอบแกน Revolve
  • การตัดโดยใช้หน้าตัดหมุนรอบแกน Revolve Cut
  • สร้างชิ้นงานด้วยคำสั่ง Sweep
  • สร้างชิ้นงานด้วยคำสั่ง Sweep Cut
  • สร้างชิ้นงานด้วยคำสั่ง Loft
  • สร้างชิ้นงานด้วยคำสั่ง Loft Cut
  • การลบเหลี่ยมและมุม โดยใช้คำสั่ง Fillet และ Chamfer
  • การกำหนดความหนาให้กับชิ้นงาน โดยใช้คำสั่ง Shell
  • การคัดรอกเส้นรอบจุด Circular sketch pattern
  • การคัดลอกชิ้นงานโดยการหมุนรอบแกน Circular patter
  • การใส่สีให้กลับพื้นผิวของชิ้นงาน
  • การสร้างข้อความให้กับชิ้นงาน
  • การสร้างสปริงด้วยคำสั่ง Helix
  • การคัดลอกเส้นจาก Sketch ก่อนหน้านี้ Convert Entities
  • สร้างชิ้นงานอีกครั้งจากตัวชิ้นงาน Mirror
กลุ่มคำสั่งในการประกอบชิ้นงาน
  • การนำชิ้นงานเข้าInsert Component
  • การประกอบด้วยชุดคำสั่ง Mate
  • การใช้คำสั่ง Linear Component Pattern
  • การใช้คำสั่ง Circular Component Pattern
  • การใช้คำสั่ง Mirer Component Pattern
  • การใช้คำสั่ง Move Component
  • การใช้คำสั่ง Rotate Component
  • การแสดง ซ่อนชิ้นงาน Show Hidden Component
  • การแก้ไขชิ้นงานในโหมด Assembly 
กลุ่มคำสั่งในสร้าง Sheet Format
  • การเลือก Sheet Format ขนาดต่างๆ
  • การนำชิ้นงานเข้ามา ในภาพเขียนแบบฉาย
  • การใส่ขนาดองศา และกำหนดมุมมองที่ต้องการ
  • การแก้ไขขนาดของชิ้นงาน
  • การพิมพ์ข้อความพิเศษเพิ่ม
  • การทำส่วนขยายพิเศษ
  • การสร้างภาพตัดขวางของชิ้นงาน และการใส่ลวดลายให้ภาพตัดขวาง
  • การสร้างใบรายการวัสดุ(Bill of material)
  • การตั้งค่า Drawing sheet
  • การพิมพ์ภาพเขียนแบบฉาย (Print)
  • การบันทึก (Save)   
สรุปภาพรวมทั้งหมดของการเรียนการสอน
* รายละเอียดของการสอนอาจมีการยืดหยุ่นตามความเหมาะสมของผู้เรียน
** การสอนเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจและรู้จักประยุกต์การใช้งาน